

PPCDec 24, 2020

“จัดการกับปัญหาการขยะนับเป็นวาระสำคัญระดับโลก..ถ้าเราไม่เริ่มต้นแล้ว.. ต่อไปใครจะทำ”
บอกเล่ากล่าวแก้ไข คิดหาทางออกในหลากหลายมิติ เพื่อการจัดการขยะที่ยั่งยื่น ด้วย หลัก 3Rs ประกอบด้วย Reduce คือ การลดการใช้ การใช้น้อยเท่าที่จำเป็น หรือการลดสร้างของเสีย Reuse คือ การใช้ซ้ำหลายๆ ครั้ง เพื่อยืดอายุการใช้งานและใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น Recycle คือ การแปรรูปมาใช้ใหม่ โดยดร.วรุณ วารัญญานนท์ ที่ปรึกษาเพื่อภาคีเครือข่ายอุตสาหกรรม ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ และผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ CHULA Zero Waste.

จากขยะยางรถยนต์เก่าเป็นน้ำน้ำมัน
ศาสตราจารย์ ดร.ศิริรัตน์ จิตการค้า ได้กล่าวไว้ว่า ผลิตน้ามันจากการไพโรไลซิสยางล้อเก่านอกจากจะช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมจากขยะปิโตรเคมีที่กำจัดยากแล้ว ยังช่วยลดปัญหาด้านพลังงานที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและมีความเป็นไปได้ที่จะนำมาใช้ในเชิงพาณิชย์และเป็นการใช้ทรัพยากรปิโตรเลียมของประเทศให้คุ้มค่ามากที่สุดซึ่งสอดรับกับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง

การจัดการขยะและนำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์
กว่า 10 ปีที่ผ่านมาโลกต้องเผชิญภาวะโลกร้อนทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ และปฏิเสธไม่ได้เลยว่าส่วนหนึ่งมาจากปัญหาขยะพลาสติก ประเทศไทยเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ตื่นตัวในเรื่องนี้ จึงเกิดการวิจัยอย่างกว้างขวาง และการวิจัยสำหรับกว่า 10 ปีที่ผ่านมาโลกต้องเผชิญภาวะโลกร้อนทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ และปฏิเสธไม่ได้เลยว่าส่วนหนึ่งมาจากปัญหาขยะพลาสติก ประเทศไทยเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ตื่นตัวในเรื่องนี้ จึงเกิดการวิจัยอย่างกว้างขวาง และการวิจัยสำหรับการจัดการของเสียและการนำของเสียมาทำให้เกิดประโยชน์ก็เป็นอีกงานวิจัยหนึ่ง ที่สามารถเจาะลึกถึงวัฏจักรชีวิตของขยะพลาสติก และนำมาซึ้งการนำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดย ผศ.ดร. อัมพิรา เจริญแสง อาจารย์ประจำวิทยาลัยปิโตรเลียมฯ โดยการศึกษาปัญหาขยะตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เพื่อให้เกิดการนำทรัพยากรกลับมาใช้หมุนเวียนอย่างครบวงจรและเกิดประโยชน์สูงสุดก็เป็นอีกงานวิจัยหนึ่ง ที่สามารถเจาะลึกถึงวัฏจักรชีวิตของขยะพลาสติก และนำมาซึ้งการนำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดย ผศ.ดร. อัมพิรา เจริญแสง อาจารย์ประจำวิทยาลัยปิโตรเลียมฯ โดยการศึกษาปัญหาขยะตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เพื่อให้เกิดการนำทรัพยากรกลับมาใช้หมุนเวียนอย่างครบวงจรและเกิดประโยชน์สูงสุด

พลังงานสำรองแบบมือถือพลังงานสำรองเพื่ออนาคต
พลังงานสำรองหรือ Power Bank เพิ่งรู้จักในระยะเวลาที่ไม่นานเมื่อยุคโลกดิจิตอลได้เข้ามาแทรกแซง โดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือที่เราใช้ในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งวัสดุในการผลิตล้วนมีความแต่งแต่งกันในแต่ละยุคสมัย เราจะบริหารและจัดการอย่างไรกับพลังงานเหล่านี้อย่างไรเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนไปพร้อมกับโลกดิจิตอล

Research University Network: RUN โดย รศ. ดร. รังรอง ยกส้าน
โครงการขยายผลการศึกษาวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมในเชิงพาณิชย์ (Research University Network: RUN) จุดเริ่มต้นของงานวิจัยและนวัตกรรมที่จะส่งผลดีต่อระบบภาคอุตสาหกรรมไทยสู่สากลในอนาคต โดย รศ. ดร. รังรอง ยกส้าน ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Biorefinery: A Sustainable Industry of the Future
Biorefinery: A Sustainable Industry of the Future By: Prof. dr. G.J.M. (Gert-Jan) Gruter, Special appointment of Industrial Sustainable Chemistry (ISC) at the Faculty of Science (FNWI) of the University of Amsterdam
https://www.avantium.com/press-releases/gert-jan-gruter-appointed-extra-ordinary-professor-industrial-sustainable-chemistry/

“Biorefinery in the future”
“Biorefinery in the future” By: Prof. dr. G.J.M. (Gert-Jan) Gruter, Special appointment of Industrial Sustainable Chemistry (ISC) at the Faculty of Science (FNWI) of the University of Amsterdam, Netherlands and Chief Technology Officer, Avantium Netherlands.

อัพเดทข่าวสารและศาสตร์ในวงค์ Biorefinery โดย ดร.เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ
อัพเดทข่าวสารและศาสตร์ในวงค์ Biorefinery โดย ดร.เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ รองผู้อำนวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ Biorefinery ความยั่งยืนในทุกมิติทั้งเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ของประเทศไทย

นวัตกรรมพลาสติกและปิโตรเคมีที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม
ปิโตรเคมีและพลาสติกที่มีอยู่รอบตัวเราตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทั่งนอนหลับ ใครๆ ก็เห็นว่าพลาสติกเป็นตัวร้ายและคิดหาทางทำลาย แต่แท้จริงแล้วยังมีทางเลือกใหม่ๆ และนวัตกรรมใหม่ๆ ที่จะสร้างนางร้ายให้เป็นประโยชน์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมได้ กับนวัตกรรมใหม่ๆ ที่เรานำเสนอเพื่อเป็นแนวทางต่อไป

อุตสาหกรรมยางในประเทศไทย
"ยาง วัสดุมหัศจรรย์จากลุ่มน้ำอะเมซอน" สู่อุตสาหกรรมที่มาพร้อมนวัตกรรมที่ท้าทายในประเทศไทย โดย ดร.บัญชา ชุณหสวัสดิกุล

โพลิเมอร์ศาสตร์วัสดุขั้นสูงที่อยู่รอบตัวเรา
โพลิเมอร์ เป็นคำที่ใช้อ้างถึงกลุ่มของวัสดุธรรมชาติและสังเคราะห์กลุ่มใหญ่ที่มีคุณสมบัติและการใช้งานต่างกัน พอลิเมอร์ธรรมชาติเช่นชแล็กและอำพันที่ใช้มาเป็นเวลากว่าศตวรรษ พอลิเมอร์ชีวภาพ เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิกที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการทางชีวภาพ พอลิเมอร์ธรรมชาติอื่น ๆ เช่นเซลลูโลสที่เป็นองค์ประกอบหลักของกระดาษและไม้ พอลิเมอร์สังเคราะห์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ บาเกไลต์, นีโอพรีน, ไนลอน, พีวีซี, พอลิสไตรีน, พอลิอคริโลไนไตรล์ และพีวีบี การศึกษาเกี่ยวกับพอลิเมอร์ได้แก่ เคมีพอลิเมอร์, ฟิสิกส์พอลิเมอร์และวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์

"หน้ากากอนามัย" ทำมาจากอะไร? และควรใช้อย่างไร?
หน้ากากอนามัย คือ หน้ากากที่ใช้เพื่อช่วยป้องกันระบบทางเดินหายใจจากมลพิษ สารพิษ และเชื้อโรค ในหลายกรณี แพทย์มักแนะนำให้ใช้หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากเป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อไวรัสจากคนสู่คนได้ หากรู้วิธีใช้ที่ถูกต้องก็จะช่วยให้การป้องกันนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้นหน้ากากอนามัย ผลิตขึ้นจากผ้าหรือพอลิโพรไพลีนซึ่งเป็นพลาสติกชนิดหนึ่งที่มีความปลอดภัยต่อผู้ใช้ โดยหน้ากากอนามัยที่มีคุณภาพจะต้องมีชั้นกรองอย่างน้อย 3 ชั้น เพื่อช่วยในการป้องกันเชื้อโรค มลพิษหรือของเหลวจากภายนอก และช่วยดูดซับสารคัดหลั่งหรือความชื้นที่มาจากผู้ใช้ ป้องกันเชื้อโรคแพร่กระจายสู่ผู้อื่น

จากขยะสู่น้ำมัน
“จากขยะสู่นํ้ามัน เทคโนโลยีผลิตพลังงาน ทางเลือกที่ดูแลสิ่งแวดล้อม” โดย ศ.ดร.ศิริรัตน์ จิตการค้า อาจารย์ประจำวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้
ศาสตราจารย์ ดร.รัตนวรรณ มกรพันธุ์ อาจารย์วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี งานวิจัยเด่น สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ง ชาติ ปี 2562 “ภาชนะพลาสติกชีวภาพทนร้อนเย็นย่อยสลายได้“

เตรียมความพร้อมสู่มาตราฐานยูโร 5
คำว่า ยูโร (Euro) ย่อมาจากคำว่า ยุโรป หรือกลุ่มประเทศยุโรป ซึ่งเป็นกฎระเบียบกำหนดมาตรฐานไอเสียรถยนต์ เพื่อช่วยป้องกันดูแลปัญหาสิ่งแวดล้อมไม่ให้มลพิษเกินเกณฑ์มาตรฐานไล่มาตั้งแต่ Euro 1, Euro 2, Euro 3, Euro 4 (ปัจจุบันเมืองไทยยังใช้มาตรฐานยูโร 4 อยู่)
และมาตรฐาน Euro 5 เป็นระบบเครื่องยนต์ไอเสียสะอาดทั้งเครื่องเบนซินและดีเซล เริ่มอนุมัติใช้ในยุโรปตั้งแต่ปี 2552 โดยติดตั้งกรองเขม่าไอเสียดักจับฝุ่นละออง (Diesel Particulate Filter : DPF) จับเขม่าขนาดเล็กได้ถึง 99%การติดตั้งจะทำให้ต้นทุนการผลิตรถสูงขึ้นเป็นเงาตามตัว แล้วประทเศไทยพร้อมแล้วหรือยังที่จะใช้ มาตราฐานยูโร 5

การพัฒนาเครื่องยนต์เบนซินสำหรับรถเก๋งในอนาคต
การพัฒนาเครื่องยนต์เบนซินสำหรับรถเก๋งในอนาคต

น้ำมันหล่อลื่นbigbikที่มีประสิทธิภาพควารเป็นอย่างไรEp.2
เพื่อประสิธิภาพที่ดีของการขับขี่bigbikควรเลือกน้ำมันหล่อลื่นที่มีเหมาะสมกับเครื่องยนต์แต่ละประเทภ นั้น ๆ ติดตามต่อได้ในรายการสถานีปิโตร 4.0

น้ำมันหล่อลื่นที่เหมาะสำหรับBigbikeEp.1
Bigbike คือรถจักยานต์ที่มีขนาดความจุตั้งแต่ 250 cc ขึ้นไปจนถึง 2400 cc และด้านเครื่องยนต์นั้นจะแตกต่างกันออกไปในรถของแต่ละค่าย
นอกจากนี้ Bigbike จะถูกแตกแขนงแยกออกมาเป็น 4 ประเภทหลักๆ ได้แก่ Sport, Naked, Touring, และ Chopper นั้นเอง

ไบโอพลาสติก พลาสติกที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ
ไบโอพลาสติก เป็นการผลิตพลาสติกตามชีวภาพที่ย่อยสลายได้ โดยเป็นการผลิตจากพืช และเมื่อทิ้งไปยังผืนดินก็สามารถย่อยสลายได้กลายเป็นดิน เป็นวงจรแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ ซึ่งสิ่งที่เกิดคำถามเสมอ คือ แยกคำว่าย่อยสลายได้อย่างไร โดยการย่อยสลายของพลาสติก สามารถแบ่งพลาสติกได้ในรูปแบบของ Biodegradation พลาสติกที่ย่อยสลายตามชีวภาพ ย่อยสลายได้ 100% Compostable polymers พลาสติกแบบฝังกลับและได้เป็นปุ๋ย มีมาตรฐาน D6400 ว่าเมื่อมีการนำพลาสติกไปฝังกลบต้องหายไปหมดเกลี้ยงภายใน 180วัน...ติดตามและหาความรู้ได้ที่ เทปนี้ เลยจร้า

Cello-gum การสกัดและดัดแปรแบคทีเรียเซลลูโลสจากเศษวุ้นมะพร้าวสู่การเพิ่มมูลค่าสู่เชิงพาณิชย์ from Biotechnology to Bio Economy
Cello-gum การสกัดและดัดแปรแบคทีเรียเซลลูโลสจากเศษวุ้นมะพร้าวสู่การเพิ่มมูลค่าสู่เชิงพาณิชย์ from Biotechnology to Bio Economy

ไมโครพลาสติก?
ไมโครพลาสติก หมายรวมถึง อนุภาคพลาสติกที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 5 มม. มีแหล่งกำเนิดมาจากพลาสติกที่ใช้เป็นสารตั้งต้นที่ในกระบวนการผลิตอุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเคมี ได้แก่ เม็ดพลาสติกที่ใช้ในการผลิตและสังเคราะห์ผลิตภัณฑ์พลาสติก เช่น สารตั้งต้นประเภท Polyethylene Polypropylene Polystyrene (Fendall and Sewell, 2009) และ ไมโครพลาสติกที่ใช้เป็นสารตั้งต้นของผลิตภัณฑ์เวชสำอาง อาทิ ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ชำระล้าง (Rinse-off cosmetic) รวมถึง ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดและผลัดเซลล์ผิวหน้า ได้แก่ เม็ดบีดส์ (Microbeads/ scrubbers) ที่พบในโฟมล้างหน้า สบู่อาบน้ำ ยาสีฟัน แชมพูสระผม เป็นต้น โดยทั่วไปมักพบในรูปร่างทรงกลม ทรงรี หรือมีรูปร่างไม่แน่นอน มักผลิตจากวัสดุพอลิเมอร์หรือพลาสติกชนิดต่างๆ ที่ไม่สามารถย่อยสลายทางธรรมชาติในระยะเวลาอันสั้นและยังหมายรวมถึงการย่อยสลายของขยะพลาสติกชิ้นใหญ่ ขยะที่มีเส้นใยหรือมีพลาสติกเป็นองค์ประกอบเองอีกด้วย

'สปันบอนด์' ดีจริงหรือไม่ ?
"สปันบอนด์" ผลิตภัณฑ์ที่ร้ายกว่าพาสติกจริงหรือไม่? แท้ที่จริงแล้ว "สปันบอนด์" คืออะไรและเราจะใช้อย่างไรให้ถูกวิธี

ใช้พลาสติกอย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ใช้พลาสติกอย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุด

โพลิเมอร์ฟิสิกส์คืออะไร
โพลิเมอร์ฟิสิกส์คืออะไร โดย Professor Dr. Lei Zhu, Department of Macromolecular Science and Engineering, Case Western Reserve University

PPC CU มหาบัณฑิตจากอาเซียน
จากแรงบันดาลใจ สู่ชีวิตนิสิต และการเป็นมหาบัณฑิต บากัส โยกา ปราดานา นิสิต PPC จากประเทศอินโดนีเซีย

อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ เพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน
Thai BCG